หน่วยที่ 1 ความรู้เกียวกับเครื่องพิมพ์ดีด

ลักษณะรายวิชา

 

รหัส ............... 2201-1005...............ชื่อวิชา..... พิมพ์ดีดไทย 1......................

หน่วยกิต  (ชั่วโมง)..........2...............  เวลาเรียนต่อภาค ……72…..  ชั่วโมง

 

จุดระสงค์รายวิชา  เพื่อให้

 

1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ดีดไทย

2.  มีทักษะในการพิมพ์ดีดแบบสัมผัส

3.  มีทักษะในการแก้ไขเครื่องพิมพ์ดีดอย่างง่าย  และบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีด

4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ์ดีด

 

มาตรฐานรายวิชา

 

1.  บอกส่วนต่าง ๆ  และการบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีด

2.  พิมพ์แบบสัมผัส

3.  คำนวณคำสุทธิ

 

คำอธิบายรายวิชา

 

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องพิมพ์ดีดไทย การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์สัมผัส  การบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีด  และการแก้ไขอย่างง่าย   การเรียนรู้แป้นพิมพ์  การพิมพ์สัมผัสและวิธีคำนวณคำ

 

 

 

 

 

 

 

ที่

 

สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้

ชั่วโมง

1

2

3

4

5

6

7

8

9

    10

11

    12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

 

ความรู้พื้นฐานในการเรียนพิมพ์ดีด

การพิมพ์สัมผัสอักษรแป้นเหย้า  ฟ    ห    ก    ด   ่  า    ส   ว

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    เ     ้      ี   ง

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   พ   ะ    ั   ย

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  อ    ิ  ท    ื

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    ำ   แ   ร   ม

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   ไ   ป   น   ใ

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร     ผ    ฝ    บ    ล

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร     ถ    ุ   ค      

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร     ภ    ต    จ    ข    ช

การพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่าง

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    โ   ฌ   ฑ    ๋     ั้

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  ธ    ู   ฮ   ๊   ์

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   ฏ    ฎ    ็   ษ   ณ

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    ฆ    ฉ    ฒ    ศ    ฬ

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    ฤ    ซ    ญ    ฐ    ฦ

การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย  ๆ   “   ฯ   ,   .

การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย   /   __   %   -

การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย   (     )  .  ?    ํ  

การพิมพ์สัมผัสแป้นตัวเลข    0    3    4    5    6

การพิมพ์สัมผัสแป้นตัวเลข    1    2    7    8    9

การพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ

การพิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอนและแนวตั้ง

การพิมพ์บัญชร

 

4

4

2

2

2

2

2

2

2

4

6

4

4

4

4

4

2

2

2

2

2

6

4

4

 

 

รวม

 

72

 

ตารางวิเคราะห์หลักสูตร

 

รหัส            2201-1005        วิชา            พิมพ์ดีดไทย 1            หน่วยกิต      2(5)

ชั้น             ปวช.                              สาขาวิชา/กลุ่มวิชา การบัญชี การขาย คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

 


                                       พฤติกรรม

 

                  ชื่อหน่วย

พุทธิพิสัย

   ทักษะพิสัย

   จิตพิสัย

รวม

ลำดับความสำคัญ

จำนวนคาบ

  ความรู้

  ความข้าใจ

  นำไปใช้

  วิเคราะห์

  สังเคราะห์

  ประเมินค่า

หน่วยที่1.ความรู้พื้นฐานในการเรียนพิมพ์ดีด

1

1

1

-

-

-

2

2

7

2

4

หน่วยที่2. การพิมพ์สัมผัสอักษรแป้นเหย้า  ฟ  ห   ก    ด   ่  า    ส   ว

1

1.5

-

-

-

-

3

3

8.5

2

4

หน่วยที่3. การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    เ     ้     ี   ง

1

1

1

-

-

-

3

3

9

3

2

หน่วยที่4.การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   พ   ะ    ั   ย

1

1

1

0.5

0.5

0.5

4

4

12.5

3

2

หน่วยที่5. การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  อ    ิ  ท    ื

1

2

1

0.5

0.5

0.5

4

4

14.5

3

2

หน่วยที่6.การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    ำ   แ   ร   ม

2

2

1

1.5

1.5

2

5

5

20

3

2

หน่วยที่7.การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   ไ   ป   น   ใ

1.5

2

2

0.5

0.5

0.5

4

4

15

3

2

หน่วยที่8.การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  ผ    ฝ    บ   ล

1

1

0.5

1

1

0.5

5

5

15

3

2

หน่วยที่9การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร     ถ    ุ   ค      

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

2

หน่วยที่10การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร ภ  ต  จ   ข  ช

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

หน่วยที่11การพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่าง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1

6

หน่วยที่12การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  โ ฌ  ฑ    ๋     ั้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

หน่วยที่13การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  ธ    ู   ฮ   ๊   ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

หน่วยที่14การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร ฏ  ฎ   ็  ษ   ณ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

หน่วยที่15การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  ฆ ฉ ฒ ศ ฬ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

หน่วยที่16การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร ฤ ซ  ญ ฐ  ฦ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

หน่วยที่17การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย ๆ “  ,   .

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

2

หน่วยที่18การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย /__ %  -

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

2

หน่วยที่19การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย   (     )  .  ?    ํ  

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

2

หน่วยที่20การพิมพ์สัมผัสแป้นตัวเลข 0 3 4 5  6

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

2

หน่วยที่21การพิมพ์สัมผัสแป้นตัวเลข 1 2 7 8 9

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

2

หน่วยที่22การพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1

6

หน่วยที่23การพิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอนและแนวตั้ง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

หน่วยที่24การพิมพ์บัญชร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

4

สอบกลางภาค

-

-

-

-

-

-

-

-

-

 

3

สอบปลายภาค

-

-

-

-

-

-

-

-

-

 

3

รวม

9.5

11

7.5

4

4

4

30

30

100

-

54

ลับดับความสำคัญ

3

2

4

5

5

5

1

1

-

-

-

 

 

 

 

 

 

กำหนดการสอน

 

หน่วยที่

ชื่อหน่วย / รายการสอน

สัปดาห์ที่

ชั่วโมงที่

1

 

ความรู้พื้นฐานในการเรียนพิมพ์ดีด

-  ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีด

-  ส่วนประกอบของเครื่องพิมพ์ดีด

-  การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีด

-  กิจนิสัยที่ดีในการเรียนพิมพ์ดีดและการบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีด

-  การแก้ไขเครื่องพิมพ์ดีดอย่างง่าย  และการเปลี่ยนผ้าหมึกพิมพ์ดีด

 

1

 

1-4

 

2

การพิมพ์สัมผัสอักษรแป้นเหย้า  ฟ    ห    ก    ด   ่  า    ส   ว

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษรแป้นเหย้า

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

1

5-8

3

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    เ     ้      ี   ง

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร  เ     ้      ี   ง

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

2

9-10

4

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   พ   ะ    ั   ย

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร  พ   ะ    ั   ย

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

2

11-12

5

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  อ    ิ  ท    ื

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร  อ    ิ  ท    ื

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

3

13-14

6

 

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    ำ   แ   ร   ม

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร    ำ   แ    ร   ม

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

3

15-16

7

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   ไ   ป   น   ใ

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร  ไ   ป   น   ใ

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

4

17-18

 

กำหนดการสอน

 

หน่วยที่

ชื่อหน่วย / รายการสอน

สัปดาห์ที่

ชั่วโมงที่

8

 

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร     ผ    ฝ    บ    ล

การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร    ผ    ฝ     บ    ล

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

4

 

19-20

 

9

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร     ถ    ุ   ค      

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร      ถ    ุ   ค      

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

5

21-22

10

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร     ภ    ต    จ    ข    ช

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร    ภ    ต    จ    ข    ช

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

5-6

23-26

11

การพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่าง

-  การตรวจงานพิมพ์  หลักในการนับคำผิด

-  หลักการคำนวณคำสุทธิ

-  พิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่าง

6-9

27-33

12

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    โ   ฌ   ฑ    ๋     ั้

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร   โ   ฌ   ฑ    ๋     ั้

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

10

34-37

13

 

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร  ธ    ู   ฮ   ๊   ์

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร  ธ    ู   ฮ   ๊   ์

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

11

38-41

14

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร   ฏ    ฎ    ็   ษ   ณ

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร  ฏ    ฎ    ็   ษ   ณ

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

12

42-45

15

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    ฆ    ฉ    ฒ    ศ    ฬ

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร    ฆ    ฉ    ฒ    ศ    ฬ

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

13

46-49

16

 

การพิมพ์สัมผัสแป้นอักษร    ฤ    ซ    ญ    ฐ    ฦ

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นอักษร    ฤ    ซ    ญ    ฐ    ฦ

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

14

 

50-53

 

กำหนดการสอน

 

หน่วยที่

ชื่อหน่วย / รายการสอน

สัปดาห์ที่

ชั่วโมงที่

17

 

 

 

การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย  ๆ   “   ฯ   ,   .

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การพิมพ์เครื่องหมายวรรคตอน

-  การเรียนรู้แป้นเครื่องหมาย  ๆ   “   ฯ   ,   .

 

15

54-55

18

 

 

 

การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย   /   __   %   -

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นเครื่องหมาย  /   __   %   -

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

 

15

56-57

19

การพิมพ์สัมผัสแป้นเครื่องหมาย   (     )  .  ?    ํ  

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นเครื่องหมาย    (     )  .  ?    ํ

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

16

58-59

20

การพิมพ์สัมผัสแป้นตัวเลข    0    3    4    5    6

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นตัวเลข    0    3    4    5    6

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

16

60-61

21

การพิมพ์สัมผัสแป้นตัวเลข    1    2    7    8    9

-  การวางนิ้วและการสืบนิ้ว

-  การเรียนรู้แป้นตัวเลข    1   2   7   8   9

-  การพิมพ์ประสมคำ  และการพิมพ์ประโยค

17

62-63

22

 

การพิมพ์สัมผัสเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ

-  หลักการพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ

-  เทคนิคการพิมพ์เร็วและแม่นยำ

-  แบบฝึกพิมพ์เพื่อสร้างทักษะและความแม่นยำ

17

64-

23

การพิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอนและแนวตั้ง

-  การพิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอน

-  การพิมพ์วางศูนย์ตามแนวตั้ง

-  การพิมพ์วางศูนย์ในตำแหน่งสำหรับอ่าน

-  แบบฝึกหัดสร้างทักษะการพิมพ์วางศูนย์

18

42-45

24

การพิมพ์บัญชร

-  การพิมพ์บัญชร  หรือการพิมพ์เว้นระยะจำกัดตอน

-  ส่วนต่าง ๆ  และรูปแบบของการพิมพ์บัญชรชนิดมีหัวข้อเรื่อง

-  แบบฝึกหัดสร้างทักษะการพิมพ์บัญชร

18

46-49

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการสอน/แผนจัดการเรียนรู้

 

แผนการสอน/จัดการเรียนรู้

หน่วยที่    1

ชื่อวิชา พิมพ์ดีดไทย 1 รหัสวิชา 2201-1005 

สอนครั้งที่  1 -2

ชื่อหน่วย ปฐมนิเทศ

จำนวน   5    ชั่วโมง

ชื่อเรื่อง   ความรู้พื้นฐานด้านการโฆษณา

สัปดาห์ที่   1

 

สาระสำคัญ

ความรู้พื้นฐานในการเรียนวิชาพิมพ์ดีดเป็นสิ่งสำคัญ ผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษาในเบื้องต้นเสียก่อน  การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีดนั้นจะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะที่ดีในการเรียนวิชาพิมพ์ดีด และช่วยให้ผู้เรียนสามารถพิมพ์ดีดแบบสัมผัสได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

สาระการเรียนรู้

       1.  ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีด

 2.  ส่วนประกอบต่าง ๆ  ของเครื่องพิมพ์ดีด

  1. การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีด
  2. กิจนิสัยที่ดีในการเรียนพิมพ์ดีด
  3. การแก้ไขเครื่องพิมพ์ดีดอย่างง่าย

 

เนื้อหาสาระ

1.    ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีด

 2.   ส่วนประกอบต่าง ๆ  ของเครื่องพิมพ์ดีด

  1. การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีด
  2. กิจนิสัยที่ดีในการเรียนพิมพ์ดีด
  3. การแก้ไขเครื่องพิมพ์ดีดอย่างง่าย

 

สมรรถนะอาชีพ

  1. สามารถใช้ส่วนต่าง ๆ  ของเครื่องพิมพ์ดีดได้อย่างถูกต้อง
  2. รู้จักนำเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีดมาใช้ได้อย่างถูกต้อง
  3. รู้จักวิธีการบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี
  4. สามารถแก้ไขเครื่องพิมพ์ดีดอย่างง่ายได้

 

 

 

จุดประสงค์การเรียน/การเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้ ( จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม )

ด้านความรู้

1.  บอกประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดได้

2.  บอกส่วนประกอบต่าง ๆ  ของเครื่องพิมพ์ดีดได้

3.  บอกวิธีการสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีดได้

4.  บอกกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ์ดีดได้

 

ด้านทักษะ

1.  สามารถใช้ส่วนต่าง ๆ  ของเครื่องพิมพ์ดีดได้อย่างถูกต้อง

2.  รู้จักนำเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีดมาใช้ได้อย่างถูกต้อง

3.  รู้จักวิธีการบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีดให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี

4.  สามารถแก้ไขเครื่องพิมพ์ดีดอย่างง่ายได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม

1.  มีกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ์ดีด

2.  มีเจตคติที่ดีต่อวิชาพิมพ์ดีด

 

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้

 

1.ประวัติและความวิวัฒนาการของเครื่องพิมพ์ดีด

ปี  ค.ศ. 1714 เฮนรี่ มิลล์ ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่คิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ดีดขึ้น หลังจากนั้นเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกของโลกถูกสร้างขึ้นในปี  ค.ศ. 1808   ต่อมา   ปี ค.ศ.  1876   คริสโตเฟอร์ -ลาทัม ชูลส์  นักหนังสือพิมพ์ชาวมิลวอกี  ประเทศสหรัฐอเมริกา  คิดจะสร้างเครื่องพิมพ์เลขหน้าหนังสืออัตโนมัติ เขาขยายความคิดออกไปจากแค่พิมพ์เลขหน้าเป็นพิมพ์ตัวอักษรด้วย และต่อมา “ชูลส์”    ขายลิขสิทธิ์การผลิตเครื่องพิมพ์ดีดนี้ให้กับบริษัทเรมิงตัน

ต่อมา ปี พ.ศ. 2419 เครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษเข้ามาในประเทศไทยครั้งแรก          เอดวิน แมคฟาแลนด์ ได้คิดค้นและดัดแปลงจากเครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษมาเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย และได้นำเครื่องพิมพ์ดีดกลับมาเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2435 เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยปัจจุบันมีใช้กันอยู่ 2 แบบ คือ แบบเกษมณี  เป็นแบบที่นิยมใช้และปัจจุบันเครื่องพิมพ์ดีดที่ใช้กันอยู่เป็นแบบเกษมณี กับอีกแบบหนึ่งคือแบบปัตตะโชติ เป็นแบบที่ไม่แพร่หลายนัก

 

          2. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องพิมพ์ดีด

  1. แผงนำกระดาษ  (Paper  Guide)
  2. ปุ่มกั้นระยะซ้ายขวา  (Left  &  Right  Margin )
  3. ก้านคลายกระดาษ  (Paper  Rclease  Lever)
  4. ปุ่มลูกบิดซ้าย - ขวา  (Left  &  Right  Cylinder  knob)
  5. คานทับกระดาษ  (Peper  Holding Bar)
  6. ปุ่มตั้งระยะหรือปุ่ม  Tab + (Tabulato Setting)
  7. ปุ่มตั้งระยะหรือปุ่ม  Tab - (Tabulato Setting)
  8. คานเว้นวรรค  (Space  Bar)
  9. ก้านปัดแคร่  (Carriage  Return Lever)
  10. ระยะบรรทัด  (Line  Spacer)
  11. ก้านรับผ้าหมึกพิมพ์  (Ribbon  Adjuster)

 

3.การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีด

  1. ท่านั่งพิมพ์ดีด
  2. การใส่กระดาษและการถอดกระดาษออกจากเครื่อง ฯ
  3. การตั้งระยะกั้นหน้า – กั้นหลัง
  4. การวางนิ้ว การเคาะแป้นอักษร และการสืบนิ้ว
  5. การวางแบบพิมพ์

 

4.กิจนิสัยที่ดีในการเรียนพิมพ์ดีด

  1. การพับผ้าคลุมเครื่อง ฯ
  2. การพิมพ์ทบทวน
  3. การตรวจทาน
  4. เตรียมอุปกรณ์การพิมพ์ดีดให้พร้อม
  5. การลบแก้ไขคำผิด
  6. การบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ดีด

 

5.การแก้ไขเครื่องพิมพ์ดีดอย่างง่าย

  1. อาการขัดข้องที่เกิดจากการทำงานของระบบผ้าหมึก
  2. อาการขัดข้องที่เกิดจากก้านพิมพ์ดีดค้าง  ฝืด หรือหนัก
  3. อาการขัดข้องที่เกิดจากสายพานขาดหรือหลุด
  4. การเปลี่ยนผ้าหมึกพิมพ์ดีด

 

การบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลักษณะ 3D 

 

  1. ความพอประมาณ

1.1      ทำงานให้ทันตามเวลา เหมาะสมกับเวลา

  1. ความมีเหตุผล

2.1 ทำงานให้เสร็จตามเวลา

2.2 มีการวางแผนในการทำงาน

       3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดี

3.1 มีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการพิมพ์ดีดไทย

3.2 มีความรับผิดชอบ

3.3 มีความรอบคอบในการทำงาน

 

4. เงื่อนไขความรู้

4.1 มีความรู้เกี่ยวกับ การพิมพ์ดีดไทย 1

4.2 มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการอภิปราย

4.3 มีความรู้ทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

 

        5. เงื่อนไขคุณธรรม

5.1  มีความขยันในการทำงาน

5.2  มีการใช้อุปกรณ์การเรียนการสอนอย่างประหยัดคุ้มค่า

5.3  มีระเบียบวินัย ในการเข้าเรียนให้ตรงเวลา แต่งการให้ถูกต้อง และปฏิบัติตามกฎของห้องเรียน

                5.4  มีความสุภาพอ่อนน้อมถ่อมตนต่อครูอาจารย์

                5.5  มีการรักษาความสะอาดหลังการเรียน

                5.6  มีความสามัคคีในกลุ่มเมื่อมีกิจกรรมร่วมกัน

                5.7  มีความเอื้ออาทรต่อเพื่อนช่วยเหลือเกื้อกูลเมื่อมีปัญหา

 

การบูรณาการกับคุณลักษณะ 3 D แก่ผู้เรียน

 

ด้านประชาธิปไตย (Democracy)

                1.  การรายงานหน้าชั้นเรียนได้อย่างอิสระ

                2.  การให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียนได้อย่างอิสระ

 

ด้านคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นไทย (Decency)

                1. ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด (ความรับผิดชอบ)

              2. ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด  (ความประหยัด)

               3.  มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัติงาน (ความขยัน ความอดทน)

              4. ให้ความร่วมมือกับการทำกิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลืองานครูและ ผู้อื่น (แบ่งปัน)

 

ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด(Drug - Free)

                การปลูกฝังให้นักศึกษาเอาใจใส่ในการเรียนรู้ดูหนังสืออย่างสม่ำเสมอ และส่งเสริมให้เล่นกีฬาอยู่เสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงความจำดี เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์  ซึ่งส่งผลทำให้ห่างไกลจากยาเสพติดอย่างแท้จริง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมการเรียนการสอนหรือกิจกรรมการเรียนรู้

 

ขั้นตอนการสอน (กิจกรรมครู)

ขั้นตอนการเรียนรู้ (กิจกรรมนักเรียน)

1. ขั้นเตรียมการ

 

1. เตรียมเอกสารประกอบการสอน ได้แก่ ใบงาน ใบมอบหมายงาน แบบวัดผล และประเมินผล เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน

2 ตรวจสอบรายชื่อ ตรวจการแต่งกาย

3 อบรมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การตรงต่อเวลา การแต่งกาย การมีวินัยที่ดี

4 แจกแบบทดสอบก่อนเรียน

1.นักเรียนเตรียมอุปกรณ์การเรียน

2 นักเรียนฟังการเรียกขานชื่อ ตรวจสอบการแต่งกาย

3 รับฝังและยอมรับเหตุผล แล้วนำไปปฏิบัติการแก้ไขในพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง

4 ทำแบบทดสอบ

2. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

 

  1. แจ้งจุดประสงค์ของบทเรียนให้ผู้เรียนทราบ

ทบทวนบทเรียนที่มีความสัมพันธ์กับเนื้อหาใหม่ที่สอน

1. ผู้เรียนฟังคำบรรยาย  ตอบคำถาม  และ   จดบันทึก

2.ผู้เรียนทำแบบระเมินก่อนเรียนพร้อมแสดงความคิดเห็น

3. ขั้นสอน

 

1. ครูสอนเนื้อหาตามคำถามในการเข้าสู่บทเรียน โดยสอนจากง่ายไปยาก จากรู้ไปไม่รู้ จากสิ่งย่อยๆไปหาสิ่งใหญ่ๆ โดยวิธีบรรยาย ถาม-ตอบ ประกอบการสาธิต

2. ให้นักเรียนทำการทดลอง แบบฝึกหัด ตามใบงานโดยครูคอยแนะนำ เป็นที่ปรึกษาแก้ไขปัญหา และตรวจสอบความผิดพลาด

3. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการปฏิบัติงาน และการทำกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย

 

 

1. นักศึกษาฟังคำบรรยาย  ตอบคำถาม  และจดบันทึก

 

 

2. นักเรียนทำการทดลอง แบบฝึกหัด ตามใบงาน จากนั้น ช่วยกันสรุปผลการทดลอง

 

3. ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะการเรียนรู้  จากคู่มือเรียน  หนังสือเกี่ยวกับหลักพิมพ์ดีดคอม หรือในอินเทอร์เน็ต

4. ขั้นประเมินผล

 

1. ให้นักเรียนนำเสนอผลงาน

2. ให้นักเรียนช่วยกันประเมินผล

3. ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย

 

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปงานที่ได้รับมอบหมาย

2. นักเรียนซักถาม และแสดงความคิดเห็น

3. จัดส่งผลการปฏิบัติงานให้ผู้สอนตรวจและประเมินผล  สรุปคะแนนที่ทำได้

 

 

 

 

5. ขั้นสรุป

 

  1. สรุปเนื้อหาสำคัญ  โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียน-การสอนโดยการ ถาม-ตอบ
  2. ประเมินผลสมรรถนะที่พึงประสงค์ในด้าน (ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ)

 

  1. ผู้เรียน ซัก – ถาม แสดงความคิดเห็น

จัดส่งผลการปฏิบัติงานให้ผู้สอนตรวจและประเมินผล

 

งานที่มอบหมาย / กิจกรรม

 

ก่อนเรียน

1. ตรวจรายชื่อ ตรวจเครื่องมือ และการแต่งกาย

2. อบรมคุณธรรม จริยธรรม

3. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน

 

ขณะเรียน

                1. ทำแบบทดลอง แบบฝึกหัด ตามใบงาน

                2. ทำการอภิปรายกลุ่มย่อย

                3. รายงานผลหน้าชั้นเรียน

 

หลังเรียน

1. ทำแบบทดสอบหลังเรียน

2. ทำความสะอาดห้องเรียน

3. ศึกษาเนื้อหาในหาในเรื่องต่อไป

4. กำหนดส่งใบงานที่ปฏิบัติ ก่อนเรียนในสัปดาห์ถัดไป

 

ผลงาน / ชิ้นงาน / ความสำเร็จของผู้เรียน  (  ให้อธิบายเป็นข้อๆ  )

  1. ใบงานการอภิปรายว่าเกี่ยวกับมีหลักทั่วไปของการใช้เครื่องพิมพ์ดีด
  2.  ใบงาน แบบฝึกหัด

 

สื่อการเรียน-การสอนและแหล่งเรียนรู้

  1. 1.              สื่อสิ่งพิมพ์

1.1.       ใบความรู้

1.2.       หนังสือเรียน

1.3.       ใบงาน

1.4.       แบบฝึกหัด

1.5.       แบบประเมินผลการเรียน และแบบประเมินพฤติกรรมที่พึงประสงค์

 

2. โสตทัศน์

  1. แผนภูมิส่วนประกอบของเครื่องพิมพ์ดีด
  2. เครื่องพิมพ์ดีดสำหรับสาธิต

 

3. หุ่นจำลอง/ของจริง

1. เครื่องพิมพ์ดีดไทย

          2. แบบเรียนพิมพ์ดีดไทย 1

4. สื่อชุดฝึก/ชุดทดลอง

1.1.       แบบทดลองการฝึก เครื่องพิมพ์ดีดไทย 1

 

แหล่งการเรียนรู้

แหล่งการเรียนรู้

1.  ในสถานศึกษา

1.1 ห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณอาชีวศึกษา

1.2  อินเตอร์เน็ตวิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณอาชีวศึกษา

                1.3 ห้องพิมพ์ดีด วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณอาชีวศึกษา

 

2.  นอกสถานศึกษา

2.1 อินเตอร์เน็ต

2.2 ห้องสมุด

 

การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้

 

หลักการประเมินผลการเรียนรู้

1.ก่อนเรียน

1. สังเกตความมีวินัย ได้แก่ การตรงเวลาในการเข้าเรียน และการแต่งกาย (แบบสังเกตพฤติกรรม)

              2. สังเกตความรับผิดชอบ ได้แก่ การเตรียมอุปกรณ์การเรียน (แบบสังเกตพฤติกรรม)

3. แบบทดสอบก่อนเรียน

 

2.ขณะเรียน

1. ประเมินโดยการสังเกตขณะเรียน และขณะปฏิบัติงาน (แบบสังเกตพฤติกรรม)

            &